3ds Max : Advanced Level
Watch Trailer
คอร์สตัวต่อตัว (บาท)
หลักสูตร 15 ชั่วโมง
คอร์สองค์กร (บาท)
หลักสูตร 3 วันเต็ม
คอร์สออนไลน์ (บาท)
เรียนได้เอง ทุกที่ ทุกเวลา
ภาพรวมของการเรียน
Skill Level
Advanced
Lessons
+36 Lessons
Software
Autodesk 3ds Max
V-Ray 6
สิ่งที่คุณจะได้เรียนรู้ ?
พื้นฐานผู้เรียน
• มีทักษะด้านการอ่านภาษาอังกฤษระดับพื้นฐาน
เหมาะกับใครบ้าง
✔ กราฟิกดีไซน์เนอร์
✔ พนักงานบริษัท
✔ เจ้าของธุรกิจ
✔ บุคคลผู้สนใจ
เนื้อหาการเรียน
บทที่ 1 รู้จักโปรแกรมและหลักการใช้งานเบื้องต้นของโปรแกรม
• การติดตั้งโปรแกรมและแก้ปัญหาที่เกิดจากติดตั้ง จาก 3ds Max
• การเลือก Spec เครื่องพิวเตอร์เพื่อการทำงานด้าน 3 มิติที่จะใช้สำหรับงานออกแบบทุกประเภท
• ทำความรู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรมและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับหน้าจอโปรแกรม
• หลักการของการสร้างภาพ 3 มิติ, รูปแบบของโครงสร้าง 3 มิติใน 3ds Max
• เริ่มต้นการใช้งาน 3ds Max
• ความสามารถโดยรวม ของ 3ds Max, Main User Interface (UI) Command Panel , Tab Panel
• หลักการในการตั้งค่า Viewport Configurations(Rendering Method Panel , Layout Panel)
• การใช้งาน Viewport Control และเปลี่ยนชนิดการแสดงผลของ Viewport
• เทคนิคการใช้งาน Asset Browser เกี่ยวกับการดึงไฟล์งานและการติดตั้งโปรแกรมดูไฟล์ใน My computer
• เรียนรู้การควบคุมหน้าจอโปรแกรมเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
• เทคนิคการเรนเดอร์เพื่อ Output ผลงานออกไปเป็น File ภาพนิ่ง
• เทคนิคการตั้งค่าภาพให้มีความคมชัด และลดการประมวลผลของหน้าจอในกรณีที่มีวัตถุเยอะๆ
• เทคนิคในการ Backup Files และการกู้ File กลับมาใช้ใหม่
• เทคนิคการตั้งค่าความละเอียดในการ Output ผลงานให้ได้ความละเอียดเพื่อใช้สำหรับงานสื่อสิ่งพิมพ์ต่อไป
• เทคนิคการปรับหน้าจอเมื่อกรณีที่หน้าต่างโปรแกรมมีปัญหา
• การบันทึกและการเปิดไฟล์ที่ต่างเวอร์ชันกัน
Workshop 1 : ฝึกการควบคุมหน้าจอและการใช้คีย์ลัดที่จำเป็นของโปรแกรม
บทที่ 2 การตั้งค่าต่างๆใน 3ds Max และ Vrayเพื่อการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
• การปรับแต่งค่า Units Setup เพื่อความถูกต้องของมาตราส่วน
• การปรับแต่งค่าในส่วนของ Grid and Snap Setting
• เรียนรู้การบันทึกไฟล์โมเดลงานของโปรแกรม 3ds Max
• การใช้คำสั่งสี่เหลี่ยมนำมาประกอบและสร้างวัตถุ 3 มิติ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
• การปรับแต่งค่า Preference Setting
• เรียนรู้ระบบ Sub-Object ของโมเดล
• การตั้งค่า Template สำหรับผู้ใช้โปรแกรม 3ds Max อย่างเดียว
• การตั้งค่า Template สำหรับผู้ใช้โปรแกรม 3ds Max ร่วมกับ VRAY
• การตั้งค่าหน้าต่าง Material editor เพื่อใช้วัสดุของ V-Ray
Workshop 2 : การตั้งค่าต่างๆ ทั้งใน 3ds Max และ V-Rayเบื้องต้นเพื่อการใช้งานที่สะดวก
บทที่ 3 เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายนอก I
Workshop นี้เป็นการนำตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมประเภทอาคารพักอาศัย, ทาวน์เฮาส์, ทาวน์โฮม, อาคารสูง ,
รีสอร์ท, โรงแรม, คอนโดจริงมา ฝึกทดลองสร้างจริงภายในห้องเรียน โดยใช้ AEC Extended ที่เกี่ยวกับผนัง, ประตู, หน้าต่าง ซึ่งสามารถนำมาสร้างงานออกแบบภายนอกหรือภายในอาคารเพื่อนำความรู้ด้าน Model มาประยุกต์ให้เกิดทักษะ เมื่อไปเจองานจริงได้ต่อไป ซึ่งอาจารย์จะแนะนำเทคนิค และวิธีคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อสามารถไปทำงานในอนาคตต่อไปได้
• เทคนิคการอ่านแบบสถาปัตยกรรมภายนอกเพื่อการขึ้นโมเดลงานอย่างถูกต้อง
• สอนจากการวางแผนการขึ้น Model ด้านสถาปัตยกรรม 3 มิติให้มีสัดส่วนที่ถูกต้องและเหมาะสมตามแบบที่กำหนด
• การสร้างผนังอาคารในรูปแบบต่างๆ
• เทคนิควิธีการแก้ไขความยาวและระยะความสูงของอาคาร
• การสร้างประตูสำเร็จรูปในรูปแบบต่างๆ เช่น บานเปิดเดี่ยว, บานเปิดคู่, บานเลื่อน, บานเฟี้ยม
• การสร้างหน้าต่างในรูปแบบต่างๆ เช่น บานกระทุ้ง, บานเปิดคู่, บานเลื่อน, บานหมุน, บานพลิก
• หลักการปรับค่าส่วนประกอบของประตูและหน้าต่างให้ถูกต้องตามแบบที่ต้องการ
• สอนการจัดวางส่วนประกอบของอาคารให้ถูกต้องตามสัดส่วน
• เทคนิคการแก้ปัญหาการเจาะประตูและหน้าต่างที่ไม่ทะลุ
• เรียนรู้การใส่วัสดุสำหรับประตูและหน้าต่างโดยเฉพาะและใช้ร่วมกับ
• แนะนำวิธีการสร้างหลังคาปั้นหยาให้กับบ้านพักอาศัยด้วยวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในโลก
• การสร้างและแก้ไขวัตถุด้วยการใช้คำสั่งในกลุ่มของการ Modify ด้วย Editable Poly
• เรียนรู้โครงสร้างที่ประกอบเป็นวัตถุในระดับย่อยในส่วนของ Editable Poly
• เรียนรู้วิธีคิดและการมองวัตถุเพื่อนำมาขึ้นโมเดล 3 มิติ
• การปรับแต่งปุ่มคำสั่งที่แสดงใน Modifier Command Panel
• การเลือก Sub-Object Type Ring & Loop, Grow & Shrink
• การทำงานในระดับ Vertex, Edge, Face, Border, Polygon, Element
• การ Edit Sub-Object Rollout – [Delete & Remove], Extrude, Bevel, Chamfer, Inset, Outline, Cut, Insert Vertex, Connect, Cap, Create Shape from Selection, Hinge from edge, Edit Trangulation, Slice, Quick Slice, Turn
Workshop 3 : : ฝึกการสร้างงานสถาปัตยกรรมประเภทอาคารพักอาศัย, ทาวน์เฮาส์, ทาวน์โฮม, อาคารสูง , รีสอร์ท, โรงแรม, คอนโด ครั้งที่ 1
บทที่ 4 เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายนอก II
• การใส่วัสดุสำหรับประตู, หน้าต่าง, ราวกันตกเพื่อใช้สำหรับ Vray
• เทคนิคการสร้างเนินดินและระดับชั้นของภูเขาตามเส้น Contour
• การสร้างบันไดในรูปแบบต่างๆ เช่น รูปตัว L, รูปตัว U, บันไดโค้ง, บันไดตรง
• เทคนิคการใส่ต้นไม้แบบ Model ในงานออกแบบ
• การสร้าง Line, Rectangle, Circle, Arc, และวัตถุเกี่ยวกับ 2 มิติ ในส่วนของ Spline
• การสร้างวัตถุ 3 มิติ จากเส้น 2 มิติ โดยการ Extrude
• การสร้างโครงสร้างเหล็กในรูปแบบต่างๆ
• หลักการทำให้ Spline มีความเหมาะสมให้การขึ้นรูป 3D
• การใช้เส้น Line & Spline ในกลุ่ม 2 มิติเพื่อสร้างงานออกแบบ
• การใช้คำสั่งในกลุ่มของ Editable Spline เพื่อแก้ไขเส้น 2 มิติ
• การ Save Perspective Views to Camera
• การวางตำแหน่งกล้องแบบ Target Camera เพื่อสร้างกล้องในการ Output ผลงาน
• การสร้างกล้องและปรับมุมมองเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในงานออกแบบ
• การใช้งาน Safe Mode เพื่อการ Output งานภาพนิ่งที่สมบูรณ์
• การปรับความละเอียด Pixel ให้เหมาะสมกับภาพที่ต้องการ
• การใส่ Background ฉากหลังสีพื้น เพื่อใช้ในการ Check Model
• การใส่สีให้กับตัววัตถุเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของงานออกแบบ
• การนำโมเดลจาก 3ds Max มาใช้ใน 3ds Max
• เทคนิคการ Render งานด้วย Vray เพื่อ Check มิติของงาน
• เรียนรู้วิธีการนำ File จาก AutoCAD เข้ามาในโปรแกรม 3ds Max
• เรียนรู้ระบบการเชื่อมโยงโปรแกรม AutoCAD กับ 3ds Max ให้มีประสิทธิภาพเพื่อความรวดเร็วในการแก้ไขแบบแปลน
• เทคนิคให้ทำให้เส้นจากโปรแกรม AutoCAD Render เห็นเป็นแบบแปลน 2 มิติ
• วิธีการนำ Model จากไฟล์ Sketch UP หรือการนำ Model จาก 3D Warehouse มาใช้งานใน 3ds Max
• เทคนิคนำไฟล์จากโปรแกรม IIIustrator ที่เป็นลายเส้นเข้ามาใช้ใน 3ds Max
Workshop 4 : ฝึกการสร้างงานสถาปัตยกรรมประเภทอาคารพักอาศัย, ทาวน์เฮาส์, ทาวน์โฮม, อาคารสูง, รีสอร์ท, โรงแรม, คอนโด ครั้งที่ 2 (ต่อ)
บทที่ 5 การจัดแสง (Lighting) & การกำหนดมุมกล้อง (Camera)
• Lighting แสงประเภทต่างๆ Ambient Light, Omni, Target Spot Light, Free Spot Light, Target Directional Light, Free Directional Light )
• Advanced Lighting : Light Tracer และ Radiosity
• Shadow Types การปรับแต่งเงารูปแบบต่างๆ
• Advanced Ray Traced Shadow, Area Shadows การปรับแต่งเงาให้สมจริงที่สุด
• หลักการจัดแสงแบบ Studio, งานภายในอาคาร และ นอกอาคาร Camera
• การตั้งกล้อง (Target Free) รูปแบบต่างๆ
• การตั้งคุณสมบัติของกล้อง เช่น ความชัดลึก, ความกว้างของหน้าเลนส์
• การแสดงจอภาพหลายมุมมองผ่านเลนส์กล้อง (Camera View)
• ส่วนควบคุมการแสดงหน้าจอของ Camera
บทที่ 6 เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน I
• การสร้างฝ้าเพดานแบบหลุมฝ้าในรูปแบบต่าง
• การสร้างบัวเชิงผนัง
• การสร้าง Line ,Rectangle, Circle, Arc, และวัตถุเกี่ยวกับ 2 มิติ ในส่วนของ Spline
• การสร้างวัตถุ 3 มิติ จากเส้น 2 มิติ โดยการ Extrude
• หลักการทำให้ Spline มีความเหมาะสมให้การขึ้นรูป 3D
• การใช้เส้น Line & Spline ในกลุ่ม 2 มิติเพื่อสร้างงานออกแบบ
• การใช้คำสั่งในกลุ่มของ Editable Spline เพื่อแก้ไขเส้น 2 มิติ
• การ Save Perspective Views to Camera
• การวางตำแหน่งกล้องแบบ Target Camera เพื่อสร้างกล้องในการ Output ผลงาน
• การสร้างกล้องและปรับมุมมองเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในงานออกแบบ
• การใช้งาน Safe Mode เพื่อการ Output งานภาพนิ่งที่สมบูรณ์
• การปรับความละเอียด Pixel ให้เหมาะสมกับภาพที่ต้องการ
• การใส่ Background ฉากหลังสีพื้น เพื่อใช้ในการ Check Model
• การใส่สีให้กับตัววัตถุเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของงานออกแบบ
• การนำ File Max หรือ 3dstudio เข้ามาใช้ประกอบในงานออกแบบ
• การนำโมเดลจาก 3ds max มาใช้ใน 3ds max
• เทคนิคการ Render งานด้วย Vray เพื่อ Check มิติของงาน
• เรียนรู้วิธีการนำ File จาก AutoCAD เข้ามาในโปรแกรม 3ds Max
• เรียนรู้ระบบการเชื่อมโยงโปรแกรม AutoCAD กับ 3ds Max ให้มีประสิทธิภาพเพื่อความรวดเร็วในการแก้ไขแบบแปลน
• เทคนิคให้ทำให้เส้นจากโปรแกรม AutoCAD Render เห็นเป็นแบบแปลน 2 มิติ
• วิธีการนำ Model จากไฟล์ Sketch UP หรือการนำ Model จาก 3D Warehouse มาใช้งานใน 3ds Max
• เทคนิคนำไฟล์จากโปรแกรม IIIustrator ที่เป็นลายเส้นเข้ามาใช้ใน 3ds Max
Workshop 6 : ฝึกการสร้างงานสถาปัตยกรรมภายใน เช่น ห้องรับแขก, ห้องครัว, ห้องรับประทานอาหาร, ห้องนอนหรือห้องอื่นๆภายในอาคารตามอาจารย์ผู้สอนกำหนด ครั้งที่ 8(ต่อ)
บทที่ 6 เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน I
• การสร้างฝ้าเพดานแบบหลุมฝ้าในรูปแบบต่าง
• การสร้างบัวเชิงผนัง
• การสร้าง Line ,Rectangle, Circle, Arc, และวัตถุเกี่ยวกับ 2 มิติ ในส่วนของ Spline
• การสร้างวัตถุ 3 มิติ จากเส้น 2 มิติ โดยการ Extrude
• หลักการทำให้ Spline มีความเหมาะสมให้การขึ้นรูป 3D
• การใช้เส้น Line & Spline ในกลุ่ม 2 มิติเพื่อสร้างงานออกแบบ
• การใช้คำสั่งในกลุ่มของ Editable Spline เพื่อแก้ไขเส้น 2 มิติ
• การ Save Perspective Views to Camera
• การวางตำแหน่งกล้องแบบ Target Camera เพื่อสร้างกล้องในการ Output ผลงาน
• การสร้างกล้องและปรับมุมมองเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในงานออกแบบ
• การใช้งาน Safe Mode เพื่อการ Output งานภาพนิ่งที่สมบูรณ์
• การปรับความละเอียด Pixel ให้เหมาะสมกับภาพที่ต้องการ
• การใส่ Background ฉากหลังสีพื้น เพื่อใช้ในการ Check Model
• การใส่สีให้กับตัววัตถุเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของงานออกแบบ
• การนำ File Max หรือ 3dstudio เข้ามาใช้ประกอบในงานออกแบบ
• การนำโมเดลจาก 3ds max มาใช้ใน 3ds max
• เทคนิคการ Render งานด้วย Vray เพื่อ Check มิติของงาน
• เรียนรู้วิธีการนำ File จาก AutoCAD เข้ามาในโปรแกรม 3ds Max
• เรียนรู้ระบบการเชื่อมโยงโปรแกรม AutoCAD กับ 3ds Max ให้มีประสิทธิภาพเพื่อความรวดเร็วในการแก้ไขแบบแปลน
• เทคนิคให้ทำให้เส้นจากโปรแกรม AutoCAD Render เห็นเป็นแบบแปลน 2 มิติ
• วิธีการนำ Model จากไฟล์ Sketch UP หรือการนำ Model จาก 3D Warehouse มาใช้งานใน 3ds Max
• เทคนิคนำไฟล์จากโปรแกรม IIIustrator ที่เป็นลายเส้นเข้ามาใช้ใน 3ds Max
Workshop 6 : ฝึกการสร้างงานสถาปัตยกรรมภายใน เช่น ห้องรับแขก, ห้องครัว, ห้องรับประทานอาหาร, ห้องนอนหรือห้องอื่นๆภายในอาคารตามอาจารย์ผู้สอนกำหนด ครั้งที่ 8(ต่อ)
บทที่ 7 เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบ Booth design I
จริงมา ฝึกทดลองสร้างจริงภายในห้องเรียน เพื่อนำความรู้ด้าน Model มาประยุกต์ให้เกิดทักษะ เมื่อไปเจองานจริงได้ต่อไป ซึ่งอาจารย์จะแนะนำเทคนิค และวิธีคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อสามารถไปทำงานในอนาคตต่อไปได้
• การเปลี่ยนแปลงแก้ไขและเคลื่อนย้ายวัตถุ (Transform) แบบ Absolute และ Relative (Offset) Mode
• ทำความเข้าใจหลักการและระบบการขึ้น Model แบบแม่นยำและแบบสัดส่วน
• การใช้งาน Array, Align, Quick Align, Clone, Move, Rotate, Scale
• การใช้คำสั่ง Group และ Ungroup
• การสร้างวัตถุพื้นฐาน ใน 3ds Max
• การสร้างและแก้ไขวัตถุด้วยการใช้คำสั่งในกลุ่มของการ Modify ด้วย Editable Poly
• เรียนรู้โครงสร้างที่ประกอบเป็นวัตถุในระดับย่อยในส่วนของ Editable Poly
• เรียนรู้วิธีคิดและการมองวัตถุเพื่อนำมาขึ้นโมเดล 3 มิติ
• การปรับแต่งปุ่มคำสั่งที่แสดงใน Modifier Command Panel
• การเลือก Sub-Object Type Ring & Loop, Grow & Shrink
• การทำงานในระดับ Vertex, Edge, Face, Border, Polygon, Element
• การ Edit Sub-Object Rollout – [Delete & Remove],Extrude, Bevel ,Chamfer, Inset, Outline, Cut, Insert Vertex, Connect, Cap, Create Shape from Selection, Hinge from edge, Edit Trangulation, Slice, Quick Slice, Turn
Workshop 7 : สร้าง Exhibition/Booth Designs, Stand design, Product design ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 8 เรียนรู้เทคนิคการสร้างงานออกแบบ Booth design II
• การสร้างวัตถุ 3 มิติ จากเส้น 2 มิติ โดยการ Extrude, PathDeform
• หลักการทำให้ Spline มีความเหมาะสมให้การขึ้นรูป 3D
• การสร้างตัวอักษร 3 มิติให้มีความหนาโดยคำสั่ง Extrude
• การดัดวัตถุและการแก้ไขวัตถุในกลุ่ม Modify : Bend, Lattice, FFD
• การเจาะทะลุวัตถุต่างๆ ด้วยเครื่องมือ Proboonlean
• การกำหนดให้เส้น Spline สามารถเรนเดอร์ได้
• การใช้ Lath จากเส้น Spline
• การใส่ตัวอักษร 3 มิติและการลง Font ต่างๆของโปรแกรม
• การนำเส้นจากโปรแกรม Adobe Illustrator เพื่อนำเส้นมาใช้ 3ds max
• การใช้เส้น Line & Spline ในกลุ่ม 2 มิติเพื่อสร้างงานออกแบบ
• การใช้คำสั่งในกลุ่มของ Editable Spline เพื่อแก้ไขเส้น 2 มิติ
• การ Save Perspective Views to Camera
• การวางตำแหน่งกล้องแบบ Target Camera เพื่อสร้างกล้องในการ Output ผลงาน
• การสร้างกล้องและปรับมุมมองเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในงานออกแบบ
• การใช้งาน Safe Mode เพื่อการ Output งานภาพนิ่งที่สมบูรณ์
• การปรับความละเอียด Pixel ให้เหมาะสมกับภาพที่ต้องการ
• การใส่ Background ฉากหลังสีพื้น เพื่อใช้ในการ Check Model
• การใส่สีให้กับตัววัตถุเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของงานออกแบบ
• การนำโมเดลจาก Sketchup มาใช้ใน 3dsmax
• การนำโมเดลจาก 3dsmax มาใช้ใน 3dsmax
• เทคนิคการ Render งานด้วย Vray เพื่อ Check มิติของงาน
Workshop 8 : สร้างExhibition/Booth Designs , Stand design , Product design ครั้งที่ 2 (ต่อ)
บทที่ 9 เรียนรู้การใส่วัสดุและพื้นผิวของ V-Rayพร้อมตกแต่งบรรยากาศในงานออกแบบ
• เทคนิคการเลือกสีไม่ให้เพี้ยนไปจากแบบหรือลูกค้ากำหนดมา
• เทคนิคการเลือกสีจาก TOA เพื่อความถูกต้องของสี
• เทคนิคการใช้งานสีและวัสดุในส่วนของ Vray Material เพื่อความสมจริงของงาน
• การจัดลวดลายและพื้นผิวให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม
• การกำหนดพื้นผิววัตถุโดยเลือกจาก Library
• การปรับแต่งวัสดุประตูและหน้าต่าง ในส่วนของ AEC Template
• การกำหนดคุณลักษณะพื้นผิววัตถุแบบมาตรฐาน ( Basic Parameters )
• การปะภาพบนวัตถุ (Image Map)
• การใช้ UVW Map Modifier และปรับให้ได้ระยะตามต้องการ
• การ Save Material เพื่อนำไปใช้ในงานอื่น ๆต่อไป
• การนำ Model หรือวัตถุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น 2 มิติและ 3 มิติเข้ามาใช้งาน
• การใส่ฉากหลัง Background ให้เหมาะสมพร้อมการปรับให้ได้ตำแหน่งตามต้องการโดยไม่ต้องใช้ Photoshop
• เรียนรู้คำสั่งการ Save งาน ไปพร้อมกับ Materials และไฟล์อื่นๆ ใน Scene งานทั้งหมด
• เรียนรู้คำสั่งในการแก้ไข ในกรณีไฟล์งานมองหา Materials ไม่เจอ
• การกำหนด Material ID ให้กับวัตถุที่มีหลายวัสดุใน Object เดียว
Workshop 9 : ฝึกการใส่วัสดุพื้นผิวและตกแต่งบรรยากาศให้กับงานออกแบบที่ผ่านมา
บทที่ 10 เรียนรู้การจัดแสงด้วยPlug IN V-Rayเบื้องต้นสำหรับงานออกแบบ
• หลักการจัดแสง 3 ชนิด ตามมาตรฐานงานสถาปัตยกรรม
• ชนิดของแหล่งกำเนิดแสง (Ambient Light, Omni, Spot Light Directional Light)
• องค์ประกอบของแหล่งกำเนิดแสง และกำหนดค่าต่าง ๆ
(General Parameters, Spotlight Parameters, Shadow Parameters)
• การสร้างเงา เช่น เงาดำของวัตถุทึบแสง, เงาของวัตถุโปร่งแสง
• การกำหนดวัตถุโปร่งแสง, การสร้างวัตถุให้เกิดเงาแบบ Ray-Traced
• การใช้ Photometric Light กับ Illuminating Engineering Society (IES)
• หลักการจัดแสงเพื่อให้เกิดภาพที่สวยงามและสมจริง
• ประสิทธิภาพของโปรแกรมและผลงานที่จัดแสงด้วย Plugin V-Ray
• แนะนำหลักการคิดและทฤษฎีในการออกแบบแสงสำหรับงานสถาปัตยกรรม
• แนะนำวิธีการติดตั้งโปรแกรม V-Ray ให้เหมาะสมกับโปรแกรม 3ds Max
• เทคนิคการจัดแสง Standard Light ให้กับงานออกแบบโดยใช้การคำนวณแสงของ VRay
• เทคนิคทำให้งานออกแบบมีมิติมีแสงเงาตามซอกมุมต่างๆ
• เทคนิคการใส่แสงจากพระอาทิตย์
• เทคนิคการใส่แสงจากท้องฟ้าเพื่อทำให้งานมีมิติมากขึ้น
• การใส่แสงประดิษฐ์ (IES) ในการงานออกแบบ
• สรุปข้อเสนอแนะ จากประสบการณ์ของวิทยากร
Workshop 10 : ฝึกการจัดแสงและตกแต่งบรรยากาศให้กับงานออกแบบของตัวเองที่ผ่านมา
บทที่ 11 Work Shop II
• ทดลองสร้างงาน Animation เต็มรูปแบบโดยเพิ่ม Effect ต่างๆ เข้าไปด้วย
• การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
• ฟังบทสรุป และแนวทางการทำงานจริงจากวิทยากร
เนื้อหาหลักสูตรสามารถปรับเปลี่ยน หรือเน้นเฉพาะบางเรื่องเป็นพิเศษได้ ตามความต้องการของผู้เรียน และอาจมีการเปลี่ยนแปลงลำดับเนื้อหาตามความเหมาะสมกับผู้เรียนนั้นๆ แต่ยังคงเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ทุกประการ โดยการเรียนการสอนแต่ละครั้งจะมีการฝึกทดลองทำแบบฝึกหัดประกอบด้วยเสมอ
รูปแบบการเรียน
คอร์สตัวต่อตัว
ค่าอบรม 7,800 บาท
หลักสูตรส่วนตัว 15 ชั่วโมง
เรียน 6 ครั้ง ครั้งละ 2½ ชั่วโมง
เรียนออนไลน์ผ่าน MS Teams
บันทึกการสอนเป็นวิดีโอให้ทบทวน
รอบเวลาการอบรม
รอบเช้า 10.00 น. – 12.30 น.
รอบบ่าย 14.00 น. – 16.30 น.
รอบค่ำ 20.00 น. – 22.30 น.
คอร์สองค์กร
ค่าอบรม 36,000 บาท
หลักสูตรองค์กร 3 วันเต็ม
เรียนออนไลน์ผ่าน MS Teams
จำนวนผู้เรียน ไม่จำกัดจำนวน
บันทึกการสอนเป็นวิดีโอให้ทบทวน
ระยะเวลาการอบรม
ตั้งแต่เวลา 10:00 – 17:00 น.
พักเที่ยง 1 ชั่วโมง
คอร์สออนไลน์
คอร์สเสร็จสิ้นเร็วๆนี้
เรียนตลอดชีพ ทุกที่ทุกเวลา
ดูคลิปวิดีโอผ่านระบบออนไลน์
เข้าถึงผ่านโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต
หากชำระเงินเสร็จ เข้าเรียนได้ทันที
ระยะเวลาการอบรม
15+ ชั่วโมง วิดีโอออนดีมานด์
Courses Instructor
อาจารย์ประจำหลักสูตร
อาจารย์เอ๋ จีอีซี่
ผู้สอนมีความเชี่ยวชาญ ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกเกือบทุกแขนง ด้วยประสบการณ์กว่า 20 ปี ที่ได้ทำงานทั้งในไทยและต่างประเทศ จึงมีทักษะในการศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้สามารถมั่นใจได้ว่า ท่านจะได้รับความรู้ และเทคนิคต่างๆ ในการใช้โปรแกรม เพื่อพร้อมก้าวสู่ความเป็นมืออาชีพ
ประสบการณ์
Graphic Designer, Print Designer, Web Designer, Web Developer, VDO Editor, 2D Animator, 3D Visualiser